ตัววิ่ง

ยินดีต้อนรับสู่บล็อคภาษาไทยของอุบลรัตน์ พิมเสน เลขที่42 ชั้นม.4/2ค่ะ

วันอังคารที่ 13 มกราคม พ.ศ. 2558

มหาชาติหรือมหาเวสสันดรชาดก

มหาชาติ  เป็นชาติที่ยิ่งใหญ่ของพระโพธิสัตว์ที่ได้เสวยพระชาติเป็นพระเวสสันดรและเป็นพระชาติสุดท้ายก่อนจะตรัสรู้เป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้า  คนไทยรู้จักและคุ้ยเคยกับมหาชาติมาตั้งแต่สมัยสุโขทัย  ดังที่ปรากฏในหลักฐานในจารึกนครชุม  และในสมัยอยุธยาก็ได้มีการแต่งและสวดมหาชาติคำหลวงในวันธรรมสวนะ  ส่วนการเทศน์มหาชาติเป็นปร อ่านเพิ่มเติม

มงคลสูตรคำฉันท์

สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าตรัสถึงอุดมมงคลหรือมงคลอันสูงสุด ๓๘ ประการไว้ในมงคลสูตร ซึ่งเป็นชื่อพระสูตรที่สำคัญบทหนึ่งในพระพุทธศาสนา มงคลสูตรปรากฏอยู่ในพระสุตตันตปิฏก ขุททกนิกาย หมวดขุททกปาฐะ พระอานนทเถระได้กล่าวถึงที่มาของมงคลสูตรไว้ในคราวที่มีการสังคายนาพระไตรปิฏกครั้งที่ ๑ ว่า ท่านได้สดับรับฟังมาเฉพาะพระพั อ่านเพิ่มเติม

ทุกข์ของชาวนาในบทกวี

ผู้แต่ง : สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
ที่มา : หนังสือ มณีพลอยร้อยแสง หมวด ชวนคิดพิจิตรภาษา
จุดมุ่งหมาย : แสดงให้เห็นถึงทุกข์ของชาวนา โดยผ่านบทกวี
ลักษณะคำประพันธ์ : ความเรียง โดยใช้บรรยาโวหาร - สาธกโว อ่านเพิ่มเติม

หัวใจชายหนุ่ม

หัวใจชายหนุ่ม เป็นบทพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยใช้
พระนามแฝงว่า รามจิตติ  เพื่อพระราชทานลงพิมพ์ ในหนังสือพิมพ์ ดุสิตสมิต เมื่อ พ.ศ. 2464 ลักษณะการพระราชนิพนธ์เป็นรูปแบบของจดหมาย มีจำนวน 18 ฉบับ รว อ่านเพิ่มเติม

นิราศนรินทร์คำโคลง

นายนรินทรธิเบศร เดิมชื่อ อิน ได้รับราชการเป็น มหาดเล็ก ฝ่ายพระราชวังบวร ( วังหน้า ) ในสมัยรัชกาลที่ ๒ ได้รับพระราชทานยศเป็นหุ้มแพร มีบรรดาศักดิ์ที่ นายนรินทรธิเบศร จึงมักเรียกกันว่า นายนรินทรธิเบศร ( อิน ) คือใส่ชื่อเดิมเข้าไปด้วย
นายนรินทรธิเบศร เป็นผู้แต่งนิราศคำโคลง ที่เรียกกันว่า นิราศนรินทร์ ตามชื่อผู้แต่ง ทว่าประวัติของนายนรินทรธิเบศร์ไม่ปรากฏรายละเอียดมากนัก ทราบแต่ว่ารับราชกา อ่านเพิ่มเติม

นิทานเวตาล เรื่องที่ ๑๐

พระวิกรมาทิตย์ เป็นกษัตริย์ครองกรุงอุชชยินี ออกจากการเป็นเจ้าเมือง ไปเป็นโยคีเพื่อสอดแนมหาข่าว น้องขึ้นเป็นแทน ต่อมาน้องสละราชสมบัติ พระอินทร์ใช้อสูรมาปกครองแทน พระวิกรมาทิตย์ไม่ยอมไปตีกลับมาได้ แต่อสูรบอกว่าเจ้าจะตายเร็วๆนี้ จากโยคี ต่อมามีผู้ถวายผลไม้ซึ่งมีทับทิมอยู่ภายใน คือโยคีศา อ่านเพิ่มเติม

อิเหนา ตอนศึกกะหมังกุหนิง

อิเหนา เป็นบทพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย รัชกาลที่ 2 เป็นบทละครรำที่พร้อมเพรียงทั้งเนื้อหา ความไพเราะ กระบวนการเล่นละคร และยังสะท้อนถึงประเพณีไทยในอดีต โดยแม้บทละครรำเรื่อง อิเหนา จะมีพื้นเพมาจากชวา แต่พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ก็ทรงปรับแก้ให้เข้ากับธรรมเนียมของบ้านเมือง และรสนิยมขอ อ่านเพิ่มเติม